Commit 1 : start project
เป็นการสร้าง project โดยผมจะใช้ชื่อ project ว่า w2
โดยใช้คำสั่งว่า django-admin.py startproject w2 ก็จะได้ project ที่ชื่อว่า w2 ขึ้นมา ซึ่งภายใน project w2 นี้จะประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ
โดยใช้คำสั่งว่า django-admin.py startproject w2 ก็จะได้ project ที่ชื่อว่า w2 ขึ้นมา ซึ่งภายใน project w2 นี้จะประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ
1.) ไฟล์ manage.py
2.) โฟลเดอร์ w2 ซึ่งภายในโฟลเดอร์ w2 ประกอบไปด้วย 4 ไฟล์ คือ
- __init__.py
- __init__.py
- settings.py
- urls.py
- wsgi.py
Commit 2 : dynamic url
เป็นการสร้าง function ที่ไว้ใช้แสดงข้อความตามจำนวนที่ต้องการ โดยวิธีการป้อนตัวเลขที่เป็นจำนวนเต็มต่อท้าย url ซึ่งในการสร้าง function นี้ ผมจะใช้ชื่อว่า hi รูปแบบในการเข้าถึง function hi นี้ คือ http:// ... /Hi/3 ซึ่งเลข 3 ในที่นี้จะเป็นตัวบอกจำนวนข้อความที่จะโชว์ เมื่อเราป้อนเลข 3 ไปข้อความที่ปรากฎก็จะเป็น Sawadee, Sawadee, Sawadee, welcome to my homepage ก็จะปรากฎ Sawadee, จำนวน 3 ครั้งตามจำนวนเต็มที่เราป้อน
Commit 3 : start app
เป็นการสร้าง app โดยผมจะใช้ชื่อ app ว่า vegetable
โดยใช้คำสั่งว่า python manage.py startapp vegetable ก็จะได้โฟลเดอร์ app vegetable ขึ้นมา ซึ่งภายในจะประกอบไปด้วย 4 ไฟล์ คือ
- __init__.py
- models.py
- tests.py
- views.py
Commit 4 : add/show simple vegetable info
เป็นการสร้าง function 2 function คือ
- function แรก ( function add ) เป็นการสร้าง function เพื่อรับข้อความหรือการ add ชื่อผัก เข้ามาเก็บไว้ใน class Vegetable
- function ที่สอง ( function show ) เป็นการสร้าง function เพื่อโชว์ข้อความที่รับมาจาก function แรก
สำหรับรูปแบบการเข้าถึง 2 function นี้ คือ
- function add >> http:// ... /add/carrot/ ( ... /add/ตามด้วยชื่อผักที่เราต้องการเพิ่ม/ )
- function show >> http:// ... /show/
Commit 5 : convert list to HTML
เป็นสร้าง function ที่ไว้แสดงรูปแบบของข้อความที่รับ add เข้ามา ให้อยู่ในรูปแบบของภาษา HTML เป็น list อย่างเช่นเรา add ( carrot , onion , corn ) เข้ามาแล้ว เมื่อเข้า function นี้ รูปแบบที่จะแสดงออกทางหน้าจอก็จะเป็น
- carrot
- onion
- corn
Commit 6 : add/use template show_vegetable.html
เป็นการสร้างไฟล์ template โดยใช้ภาษา HTML มาใช้ในการจัด format ของข้อความที่เราต้องการแสดง ให้อยู่ในรูปแบบตามความต้องการของเรา
Commit 7 : change format list to HTML
เป็นการเปลี่ยนรูปแบบ list ในการโชว์ของข้อความ โดยเปลี่ยนจาก <ul> ... </ul>
- carrot
- onion
- corn
ให้อยู่ในรูปแบบของตัวเลข <ol> ... </ol>
- carrot
- onion
- corn
Commit 8 : use shortcut render_to_response()
เป็นการใช้ render_to_response() ในการดึงข้อมูลในไฟล์ .html มาใช้ได้โดยตรง โดยแทนการใช้แบบ HttpResponse ซึ่งจะสามารถลดความยาวบรรทัดของโค้ดเราได้เป็นอย่างมาก
Commit 9 : add template input_form.html and
display input form only
เป็นการสร้าง template ในรูปแบบของภาษา HTML ซึ่งใน commit นี้เป็นการสร้าง format ไว้สำหรับการรับค่า โดยวิธีการป้อนข้อมูลลงในช่องข้อความ ( ช่องสำหรับพิมพ์ข้อมูล ) ที่ถูกดึง format มาจากไฟล์ input_form.html หลังจากนั้นก็จะมีการ import RequestContext ขึ้นมา เพื่อใช้ในการรับข้อมูลที่ถูกพิมพ์ไว้
Commit 10 : delete string and delete all (vegetable)
เป็นการสร้าง function 2 function มาเพื่อเอาไว้ลบข้อมูลใน vegetable
- function แรก ( function deleteStr ) เป็น function ที่เอาไว้ลบคำตามที่เราต้องการ เราสามรถระบุคำได้ ว่าเราต้องการลบคำใดที่มีอยู่ใน vegetable แต่เราสามารถลบได้เพียงทีละหนึ่งคำเท่านั้น
- function แรก ( function deleteStr ) เป็น function ที่เอาไว้ลบคำตามที่เราต้องการ เราสามรถระบุคำได้ ว่าเราต้องการลบคำใดที่มีอยู่ใน vegetable แต่เราสามารถลบได้เพียงทีละหนึ่งคำเท่านั้น
- function ที่สอง ( function deleteAll ) เป็น function ที่เอาไว้ลบข้อมูลทั้งหมดที่มีอยู่ใน vegetable
สำหรับรูปแบบการเข้าถึง 2 function นี้ คือ
- function deleteStr >> http:// ... /delete/carrot/ ( ... /delet/ตามด้วยชื่อผักที่เราต้องการจะลบ/ )
- function deleteAll >> http:// ... /deleteAll/
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น